Munu

การประกาศค่าตัวแปร

หน้าแรก » ข่าวสาร » การประกาศค่าตัวแปร

การประกาศค่าตัวแปร

2.3.1 รูปแบบการประกาศ
datatype ชื่อตัวแปร;
ตัวอย่าง
int Num1, Num2;
float value1, value2

2.3.2 การกำหนดค่าให้ตัวแปร(Assignment)
ใช้เครื่องหมาย = เรียกว่า Assignment operator
นำค่าทางขวามือของเครื่องหมาย = มาเก็บทางซ้ายมือของเครื่องหมาย =
ตัวอย่าง
number = 2;
area = PI*r*r;

2.3.3 การใช้ final ในการกำหนดค่าให้กับตัวแปร
เป็นการประกาศตัวแปร ที่ตัวแปรนั้นๆ จะไม่สามารถมีค่าอื่นๆได้อีก ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนค่าภายในโปรแกรม หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการใส่ข้อมูลใหม่ผ่านทาง keyboard
การใช้ final จะทำให้โปรแกรมมีความแม่นยำและมั่นคงมากยิ่งขึ้น การทำจะเปลี่ยนค่าเหล่านี้ไม่สามารถทำได้ ทำให้การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมมีประสิทธิภาพ ลดข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดจากโปรแกรมเมอร์เอง

2.3.4 อายุ และขอบเขตการใช้งาน (life-time- and scope)ของตัวแปร
หลังจากที่มีการประกาศใช้ตัวแปรใดๆ ในโปรแกรม ตัวแปรเหล่านี้จะมีขอบเขต หรืออายุการใช้งานตามลักษณะ การประกาศตัวแปรของผู้เขียนโปรแกรมเอง โดย ตัวแปรจะมีอายุการใช้งานตามเนื้อที่ (block) ที่ตัวแปรเหล่านั้น ปรากฏอยู่ ซึ่งจะอยู่ใน เครื่องหมาย { }

เรามีทีมงานผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเว็บไซต์

มาประยุกต์ในการพัฒนาการให้บริการอยู่ตลอดเวลา เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าทุกท่าน
ด้วยประสบการณ์ที่เรามีอยู่นั้น ทำให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าทุกท่านจะได้รับการบริการที่ดีจากเรา

Call

082-493-2295

E-mail

Konyubyub@Gmail.com

Location

บริษัท ดีไซน์นำโชค จำกัด
58/146 หมู่ที่ 6 หมู่บ้านซื่อตรง คลอง13 ตำบลบึงน้ำรักษ์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

2014 Powered by IYATHAI.com
Tel: 082-493-2295 E-mail: Konyubyub@gmail.com