Munu

ข่าวสาร

การกำหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจ
การกำหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจ

การกำหนดคุณสมบัติพื้นฐานของเว็บเพจ ก่อนที่เราจะเริ่มต้นสร้างเว็บเพจ หลังจากเราได้สร้างไฟล์ใหม่แล้ว เราควรกำหนดคุณสมบัติพื้นฐานให้กับหน้าเว็บเพจของเราก่อน เพื่อใช้เป็นค่าเริ่มต้นในการทำเว็บเพจของเพจนั้น คุณสมบัติพื้นฐานหรือค่าเริ่มต้นของเว็บเพจ

การสร้างเว็บเพจภาษาไทยใน Macromedia Dreamweaver Mx 2004
การสร้างเว็บเพจภาษาไทยใน Macromedia Dreamweaver Mx 2004

การสร้างเว็บเพจภาษาไทยใน Macromedia Dreamweaver Mx 2004 ในโปรแกรม Macromedia Dreamweaver เวอร์ชั่นก่อน ๆ จะต้องลงโปรแกรมเพิ่ม เพื่อให้สนับสนุนการสร้างเว็บแบบภาษาไทย แต่ในเวอร์ชั่น ใหม่ ๆ ถูกปรับปรุงให้รองรับภาษาไทยได้แล้ว โดยผู้ใช้แค่ปรับแต่งโปรแกรมเพียงเล็กน้อย ค่ะอย่างที่กล่าวไปข้างต้น

การใส่ข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004
การใส่ข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004

การใส่ข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004 บางคนคงจะคิดว่าการใส่ข้อความลงไปใน Dreamweaver ก็เหมือนกับการพิมพ์ใน word แต่ก็มีบางส่วนที่ควรรู้ โดยเฉพาะมือใหม่หัดทำเว็บ เพราะการใส่ข้อความใน Dreamweaver นั้น มีความแตกต่างจากการใส่ข้อความแบบปกติค่ะ โดยการใส่ข้อความลงในเว็บเพจในโปรแกรม

การใส่สีให้กับข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004
การใส่สีให้กับข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004

การใส่สีให้กับข้อความใน Macromedia Dreamweaver MX 2004 การใส่สีให้กับข้อความใน Macromedia Dreamweaver ทำได้ง่ายดาย ไม่ยุ่งยากเหมือนกับการเขียนภาษา HTML ค่ะ แค่คลิกไม่กี่ครั้งก็ใส่สีข้อความได้ดังใจแล้วค่ะ ขึ้นตอนการใส่สีให้กับข้อความมีดังนี้ค่ะ ขั้นตอนแรก

การใช้งาน CSS Style กำหนดรูปแบบตัวอักษร
การใช้งาน CSS Style กำหนดรูปแบบตัวอักษร

การใช้งาน CSS Style กำหนดรูปแบบตัวอักษร การทำเว็บเพจนั้นบางครั้ง เราจะต้องมีการทำงานหลาย ๆ อย่าง และบางครั้งก็ต้องทำซ้ำ ๆ หลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะทำให้เกิดความไม่สะดวก และทำให้เสียเวลาได้ ซึ่งโปรแกรม Macromedia Dreamweaver ก็เตรียมเครื่องมือที่เรียกว่า

การเรียกใช้งาน CSS Style ที่ได้กำหนดไว้
การเรียกใช้งาน CSS Style ที่ได้กำหนดไว้

การเรียกใช้งาน CSS Style ที่ได้กำหนดไว้ บทความนี้เราจะมาเริ่มต้น ลองเรียกใช้งาน CSS Style ที่เราได้สร้างไว้ในบทความที่แล้ว มาดูกันค่ะว่าจะเรียกใช้งานกันอย่างไร แต่รับรองได้ค่ะว่าทได้ง่าย ๆ และรวดเร็วด้วยค่ะ จากบทที่แล้วเราได้สร้าง

เทคนิคการทำภาพ Swap Image
เทคนิคการทำภาพ Swap Image

เทคนิคการทำภาพ Swap Image สำหรับบทความนี้ เราจะมาทำเทคนิคการ Swap Image เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับการลิงค์รูปภาพบนเว็บ นอกจากนี้สามารถนำไปประยุกต์ ทำให้เว็บไซต์ดูดี แต่จะประยุกต์แบบไหน ดูไอเดียการทำได้ที่นี่ค่ะ เทคนิคนี้ทได้ไม่อยากค่ะ

เพิ่มอักขระพิเศษใน Dreamweaver
เพิ่มอักขระพิเศษใน Dreamweaver

เพิ่มอักขระพิเศษใน Dreamweaver ในการทำเว็บเพจ บางครั้งเราอาจจะต้องใส่อักขระพิเศษต่าง ๆ ซึ่งทาง Dreamweaver เค้าก็เตรียมเครื่องมือในส่วนนี้ไว้ให้เราใช้อยู่แล้วค่ะ ทำได้อย่างไรเข้ามาดูได้ที่บทความนี้ค่ะ สำหรับตัวอย่างอักขระที่เราจะมาลองใส่กันวันนี้

การใส่คำอธิบายให้รูปภาพ โดยใช้โปรแกรม Dreamweaver
การใส่คำอธิบายให้รูปภาพ โดยใช้โปรแกรม Dreamweaver

การใส่คำอธิบายให้รูปภาพ โดยใช้โปรแกรม Dreamweaver การใส่คำอธิบายให้รูปภาพ ก็คือการใส่คำสั่ง ALT Tag ในภาษา HTLM นั่นเอง และเราสามารถใช้โปรแกรม Dreamweaver ในการใส่คำอธิบายให้รูปภาพได้ ซึ่งสามารถทำได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ติดตามดูได้ในบทความนี้ค่ะ ขั้นตอนการใส่คำอธิบายให้รูปภาพ

การใส่ลิงค์ให้ข้อความและรูปภาพ
การใส่ลิงค์ให้ข้อความและรูปภาพ

การใส่ลิงค์ให้ข้อความและรูปภาพ บทความนี้จะเป็นการใส่ลิงค์ให้กับข้อความและรูปภาพ โดยใช้โปรแกรม Dreamweaver ซึ่งสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ให้ทำการสร้างไฟล์ใหม่ใน Dreamweaver ก่อนค่ะจากนั้นดึงภาพเข้ามาในโปรแกรม Dreamweaver

การใส่สี Background ให้กับเว็บเพจ
การใส่สี Background ให้กับเว็บเพจ

การใส่สี Background ให้กับเว็บเพจ บทความนี้เป็นบทความ Basic ของการใช้โปรแกรม Dreamweaver เกี่ยวกับการใส่สีสันให้กับหน้าเว็บเพจ โดยการกำหนดสีพื้นหลัง (Background) ให้กับเว็บเพจ ซึ่งสามารถใส่สีให้กับพื้นหลังของเว็บเพจได้ง่าย ๆ ดังนี้ ขั้นตอนที่

การสร้างตาราง
การสร้างตาราง

การสร้างตาราง ในบทที่แล้วเราก็ได้สร้างตารางไปแล้วนะค่ะ แต่สำหรับการสร้างตารางนั้นเรายังมีลูกเล่นอีกมากมาย ที่จะสามารถปรับแต่งให้ตารางมีความน่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นการใส่สีสันให้ตาราง การจัดตำแหน่งตาราง หรือข้อมูลภายในเซลล์

การสร้างตาราง
การสร้างตาราง

การสร้างตาราง จากบทความในบทที่ผ่าน ๆ มา ในเรื่องของการจัดตำแหน่งของข้อความ จะเห็นได้ว่าถึงแม้เราจะสามารถจัดตำแหน่งได้แล้ว แต่การจัดตำแหน่งนั้นก็ยังไม่สารมารถกำหนดเจาะจงได้ละเอียดนัก เพราะ สามารถระบุได้เฉพาะชิดซ้าย

การเชื่อมโยง (ลิงค์)
การเชื่อมโยง (ลิงค์)

การเชื่อมโยง (ลิงค์) เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วนะค่ะ ในเว็บไซต์หนึ่ง ๆ จะมีหน้าเพจมากกว่าหนึ่งหน้า อย่างเช่นจากหน้าโฮมเพจก็สามารถคลิกเพื่อเข้าไปดูข้อมูลในหน้าอื่น ๆ ได้ ซึงเราเรียกว่าการเชื่อมโยงเว็บเพจ หรือ การลิงค์

การใส่รูปภาพ
การใส่รูปภาพ

การใส่รูปภาพ การทำเว็บเพจในหนึ่งหน้า นอกจากจะมีข้อความแล้วยังต้องประกอบด้วยรูปภาพเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับเว็บเพจ นอกจากนี้แล้วรูปภาพยังสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนกว่าข้อความ ดังคำกล่าวที่ว่า “หนึ่งภาพแทนพันตัวอักษร”

การจัดตำแหน่งข้อความ
การจัดตำแหน่งข้อความ

การจัดตำแหน่งข้อความ ลองเขียนโค้ดมาก็หลายโค้ดแล้วนะค่ะ แต่โค้ดที่ผ่านมาแบบไหน ๆ ก็แสดงข้อความที่ตำแหน่งชิดซ้ายของหน้าจอเสมอ อยากเปลี่ยนตำแหน่งการวางข้อความบ้าง ต้องเขียนโค้ดอย่งไร ในบทความนี้ Webmaster มีคำตอบ (แท็ก)

การจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความ

การจัดรูปแบบข้อความ สำหรับบทความนี้ก็ยังคงเกี่ยวข้องกับข้อความ เป็นบทความที่ต่อเนื่องมาจากบทความที่แล้ว ในบทความนี้เราจะมาจัดรูปแบบของข้ิอความ ในการทำเว็บส่วนใหญ่เนื้อหาจะเป็นส่วนสำคัญ ในบางครั้งเราต้องการที่จะเน้นที่ข้อความใดข้อความหนึ่ง

การกำหนดลักษณะข้อความในเอกสาร HTML
การกำหนดลักษณะข้อความในเอกสาร HTML

การกำหนดลักษณะข้อความในเอกสาร HTML จากในบทที่ 2 เรื่องโครงสร้างภาษา HTML เราได้ทำการใส่ข้อความลงในโฮมเพจแล้ว ในส่วนระหว่างแท็ก <body> ….</body> ซึ่งจะสังเกตได้ว่าข้อความที่เราได้เขียนไปเมื่อทดสอบผ่านเว็บบราวเซอร์ จะเป็นข้อความสีดำ

การปรับแต่งเอกสาร HTML
การปรับแต่งเอกสาร HTML

การปรับแต่งเอกสาร HTML การปรับแต่งเอกสารในที่นี้ จะหมายถึงการใส่สีสันให้กับเอกสาร HTML ในส่วนของการใส่พิ้นหลัง (Background) ให้โฮมเพจของเรามีสีสันเพิ่มขึ้น ซึ่งการใส่พื้นหลังให้โฮมเพจสามารถใส่ได้ 2 แบบ คือ การใส่สีให้พื้นหลัง

โครงสร้างภาษา HTML
โครงสร้างภาษา HTML

โครงสร้างภาษา HTML ภาษาคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ภาษาจะมีโครงสร้างเฉพาะ ภาษา HTML ก็เช่นกัน โครงสร้างของภาษา HTML นั้นเป็นโครงสร้างที่ใช้งานง่าย และเข้าใจได้ไม่ยากนัก รูปแบบโครงสร้างของภาษา HTML มีดังนี้ รูปแบบโครงสร้าง HTML ….ตรงนี้คือส่วนของข้อความที่จะปรากฏที่

โครงสร้างภาษา PHP
โครงสร้างภาษา PHP

โครงสร้างภาษา PHP ภาษาคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ภาษาสิ่งที่จะขาดไปไม่ได้ก็คือ รูปแบบโครงสร้างของภาษา ภาษา PHP ก็เช่นเดียวกันต้องมีโครงสร้างภาษาเฉพาะของ PHP สำหรับ Step แรกของ PHP ก็คือทำความเข้าใจเรื่องโครงสร้างภาษา การเขียนภาษา php

การแสดงผลในภาษา PHP
การแสดงผลในภาษา PHP

การแสดงผลในภาษา PHP การแสดงผลข้อความใน PHP สามารถใช้คำสั่งได้สามรูปแบบคือ คำสั่ง echo, print และคำสั่ง printf คำสั่งทั้งสามแบบนี้เป็นคำสั่งแสดงผลข้อมูลออกทางบราวเซอร์ ลองมาศึกษาวิธีการใช้ และสรูปข้อแตกต่างกันได้ที่นี่ค่ะ ในการเขียน

การใส่คอมเม้นท์ในภาษา PHP
การใส่คอมเม้นท์ในภาษา PHP

การใส่คอมเม้นท์ในภาษา PHP การใส่หมายเหตุ (Comment) ในสคริปต์ PHP สามารถทำได้สองวิธี คือ การใส่หมายเหตุเฉพาะบรรทัด และการใส่หมายเหตุ แบบหลาย ๆ บรรทัด ซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบการคอมเม้นท์ได้สามรูปแบบด้วยกัน การใส่หมายเหตุ วิธีที่

การกำหนดตัวแปร และชนิดของข้อมูล
การกำหนดตัวแปร และชนิดของข้อมูล

การกำหนดตัวแปร และชนิดของข้อมูล ในภาษา php นั้น เราสามารถที่จะกำหนดตัวแปรได้เหมือน ๆ กับภาษาระดับสูงอื่น ๆ โดยตัวแปรในภาษา php สามารถเขียนได้โดยใส่ $ (ดอลลาร์) ที่ด้านหน้าของชื่อตัวแปร การตั้งชื่อตัวแปรสามารถตั้งได้ทั้งภาษาไทย

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ if ()
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ if ()

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ if () ในโปรแกรม php จะมีคำสั่งที่ใช้สำหรับการควบคุมการทำงาน โดยการกำหนดเงื่อนไข ให้กับโปรแกรมได้ ในบทความนี้เรามาเรียนรู้วิธีการใช้งาน คำสั่ง if () กันค่ะ คำสั่ง if () เป็นคำสั่งควบคุมการทำงานแบบมีเงื่อนไข

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ else
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ else

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ else เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการควบคุมการทำงาน โดยการกำหนดเงื่อนไข ให้กับโปรแกรมอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีใช้ใน php แตกต่างจาก if อย่างไร ดูคำตอบได้ในบทความนี้ค่ะ จากที่ในบทความที่แล้วเราได้เรียนรู้การใช้คำสั่ง

โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ
โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ

โอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ จากบทความ 2 บทความที่ผ่านมาจะเป็นการควบคุมโปรแกรม ซึ่งเราจะต้องทำการใส่เงื่อนไข ซึ่งในการสร้างเงื่อนไขเราจะต้องใช้โอเปอเรเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการเปรียบเที่ยบระกว่างค่าสองค่า

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ elseif
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ elseif

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ elseif คำสั่ง elseif เป็นอีกหนึ่งคำสั่งที่ใช้สำหรับการควบคุมการทำงานเพื่อกำหนดเงื่อนไขให้กับโปรแกรมค่ะ แล้วเราใช้คำสั่ง elseif ในกรณีใดบ้าง หาคำตอบได้ที่นี่ค่ะ ในการใช้ คำสั่ง if หรือ if else จากสองบทความที่ผ่านมานั้น

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ While
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ While

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ While คำสั่ง While เป็นคำสั่งสำหรับใช้ควบคุมการทำงานแบบมีเงือนไข อีกแบบหนึ่ง ซึ่งแตกต่างออกไปจากการใช้งานคำสั่ง if และ elseif ก่อนหน้านี้ ซึ่งคำสั่ง While เป็นคำสั่งที่จำเป็นในการนำไปใช้เขียนโปรแกรม ลองเข้ามาดูค่ะ

Operator สำหรับการดำเนินการในภาษา PHP
Operator สำหรับการดำเนินการในภาษา PHP

Operator สำหรับการดำเนินการในภาษา PHP ในบทความก่อนหน้านี้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับโอเปอเรเตอร์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ และในบทความเรื่องการใช้ While เราก็ได้รู้จัก Operator ที่เรียกว่าโอเปอเรเตอร์การเพิ่มค่ากันไปแล้ว ในรูปแบบ $i++

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ Do…While
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ Do…While

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ Do…While คำสั่งนี้มีลักษณะการทำงานคล้ายกับคำสั่ง While แต่มีส่วนแตกต่างอยู่เล็ก ๆ น้อย ๆ ที่มี Do เพิ่มเข้ามานี่ดิ แล้วไอ้ Do นี่จะทำให้แตกต่างจาก While เดี่ยว ๆ ยังไง… อยากรู้ต้องอ่านบทความนี้ บทความนี้

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ for
คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ for

คำสั่งควบคุมการทำงาน แบบ for คำสั่ง For เป็นคำสั่งควบคุมการทำงานและกำหนดการทำงานวนรอบคล้าย ๆ กับคำสั่ง while จะมีรูปแบบแตกต่างกับคำสั่งควบคุมการทำงานอืน ๆ อย่างไรดูได้ที่บทความนี้ค่ะ คำสั่ง for เป็นเป็นคำสั่งสั่งควบคุมการทำงานและกำหนดการทำงานวนรอบ

MySQL Database
MySQL Database

MySQL Database MySQL (มาย-เอส-คิว-แอล) ระบบฐานข้อมูลสำหรับใช้พัฒนาเว็บไซต์ร่วมกับภาษา PHP ปัจจุบันได้รับความนิยมจากนักพัฒนาเว็บแอพลิเคชั่นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากเป็นฐานข้อมูลที่จัดการง่าย และที่สำคัญเอามาใช้ได้แบบฟรี ๆ สำหรับการพัฒนาเว็บไซต์

เริ่มต้นใช้งาน phpMyAdmin
เริ่มต้นใช้งาน phpMyAdmin

เริ่มต้นใช้งาน phpMyAdmin phpMyAdmin เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ติดมากับ AppServ เพื่อใช้สำหรับจัดการฐานข้อมูล เช่น สร้าง/ลบฐานข้อมูล สร้าง/ลบเทเบิล จัดการฟิลด์ต่าง ๆ ของข้อมูล รวมทั้งการประมวลผลคำสั่ง SQL เป็นต้น เริ่มแรกสำหรับการเข้าใช้งาน

สร้าง Database และ Table ด้วย phpMyAdmin
สร้าง Database และ Table ด้วย phpMyAdmin

สร้าง Database และ Table ด้วย phpMyAdmin การสร้าง Database และ Table นั้นหากเป็นเมื่อก่อนก็ต้องเสียเวลานั่งเขียนคำสั่งเป็นภาษา SQL ซึ่งคำสั่งจะจดจำได้ไม่ง่ายนัก จึงมักทำให้ความผิดพลาดได้ง่าย แต่ในปัจจุบันเราสามารถใช้ phpMyAdmin เข้ามาจัดการในเรื่องนี้ได้ง่าย

การแทรกข้อมูลเข้า Table และการเปิดดูข้อมูล โดยใช้ phpMyAdmin
การแทรกข้อมูลเข้า Table และการเปิดดูข้อมูล โดยใช้ phpMyAdmin

การแทรกข้อมูลเข้า Table และการเปิดดูข้อมูล โดยใช้ phpMyAdmin บทความนี้จะเป็นการแทรกข้อมูลเข้า Table โดยใช้ phpMyAdmin ในการจัดการ ซึ่งก็ไม่มีอะไรยุงยากมากมายเลยค่ะ เพราะบทความนี้จะเป็น Basic ต่อจากบทความที่แล้วค่ะ เริ่มแรกก็เข้า phpMyAdmin แล้วเลือกฐานข้อมูลชื่อ

เรามีทีมงานผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเว็บไซต์

มาประยุกต์ในการพัฒนาการให้บริการอยู่ตลอดเวลา เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าทุกท่าน
ด้วยประสบการณ์ที่เรามีอยู่นั้น ทำให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าทุกท่านจะได้รับการบริการที่ดีจากเรา

Call

082-493-2295

E-mail

Konyubyub@Gmail.com

Location

บริษัท ดีไซน์นำโชค จำกัด
58/146 หมู่ที่ 6 หมู่บ้านซื่อตรง คลอง13 ตำบลบึงน้ำรักษ์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

2014 Powered by IYATHAI.com
Tel: 082-493-2295 E-mail: Konyubyub@gmail.com