เชื่อว่าหลายคนคงเคยเห็น <figure> ของ HTML ผ่านตามาบ้างแล้ว เช่นเดียวกันหลายคนก็อาจจะยัง งง กับการใช้งานของ tag <figure> และ <figcaption> อยู่ บางคนอาจจะคิดว่ามันสามารถใช้คู่กับ <img> เท่านั้น ซึ่งเป็นไอเดียที่ถูกไม่หมดสักทีเดียว วันนี้ผมจะขอแลกเปลี่ยนสั้นๆ
การเขียน tag ของ HTML5 นั้นมีบางอย่างแปลกๆ ที่หลายคนอาจจะไม่เคยรู้ ผมจะขอนำความแปลกมาไล่เรียงกันในที่นี้พอเป็นกระสัยแก้ฉี่เหนียว เยี่ยวขัดสำหรับคุณพ่อบ้านสักเล็กน้อย บางเรื่องที่น่าจะรู้อีกก็คือการเขียน Tag ของ HTML5 ไม่สนใจเคสเซ้นสิถีบ
หาค่าต่ำสุด สูงสุด ผลบวก ค่าเฉลี่ย จงเขียนโปรแกรม C++ หาค่าต่ำสุด สูงสุด ผลบวก ค่าเฉลี่ยของจำนวนเต็มสามจำนวนที่รับจากผู้ป้อน ทดสอบ ป้อน ๑๐ ๒ ๓ min = 2, max = 10, avg =5, sum = 15 #include #include void main() { clrscr(); float
การพิสูจน์ว่าเป็สามเหลี่ยมมุมฉากหรือเปล่า จงเขียนโปรแกรม C++ โดยรับจำนวนเต็มสามจำนวน แล้วแสดงผลว่าเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากไหม ถ้าใช่ให้ขึ้นข้อความ “It is a right triangle.” ถ้าไม่ใช่ให้ขึ้นข้อความ “It is not a right triangle.” แต่ถ้าเลขที่ผู้ใช้ป้อนมามีเลขศูนย์ด้วยให้ขึ้นข้อความ
การพิสูจน์ว่าเป็สามเหลี่ยมมุมฉากหรือเปล่า จงเขียนโปรแกรม C++ โดยรับจำนวนเต็มสามจำนวน แล้วแสดงผลว่าเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากไหม ถ้าใช่ให้ขึ้นข้อความ “It is a right triangle.” ถ้าไม่ใช่ให้ขึ้นข้อความ “It is not a right triangle.” แต่ถ้าเลขที่ผู้ใช้ป้อนมามีเลขศูนย์ด้วยให้ขึ้นข้อความ
Sort the integer write c++ pgm to input 5 integers. Then, ask user whether he/she would like to sort the integer in ascending(a) or descending(d) mannor. Sort the integers accordingly. ตัวช่วย ใช้คำสั่ง switch จะง่ายค่ะ ทดสอบ ป้อน 1 2 3 4 5 เลือก a แสดง 1 2 3 4 5 เลือก d แสดง 5 4 3 2 1 โจทย์ภาษาอังกฤษไม่ว่ากันนะคะ
เขียน HTML โดยปกติเว็บโปรแกรมเมอร์หรือมาสเตอร์ต่างๆมักใช้โปรแกรมช่วยเหลือต่างๆนาๆ ผู้ใช้หลายท่านอาจมองว่าเป็นการยากถ้าจะเป็นเจ้าของเว็บไซต์สักที่ แต่ปัจจุบันนั้นแสนง่ายดาย เพียงแค่เรามีคอมพิวเตอร์ที่มี Text Editor
1.สร้าง folder ที่หน้า Desktop ตั้งชื่ออย่างไรก็ได้ แต่ในที่นี้ตั้งชื่อโฟลเดอร์นี้ว่า myweb ดังภาพ 2.เตรียมรูปภาพไว้ในโฟลเดอร์ myweb ที่เราต้องการนำขึ้นมาแสดงที่หน้าเว็บเพจ HTML ของเราโดยรูปภาพทั้งหมดให้สร้างในโฟลเดอร์ image อีกทีหนึ่ง
ะเห็นได้ว่าการเขียนเว็บด้วยภาษา HTML ในขั้นพื้นฐานนี้ไม่ได้ยากเลย เพียงแค่มีโปรแกรม Text Editor ง่ายๆอย่างโปรแกรม Notepad ในการเขียน จากนั้นก็รันโค๊ดดังกล่าวด้วย IE , Chrome หรือ Firefox แล้วแต่ตามสะดวก ก็จะได้เว็บเพจตามที่เราเขียนหรือออกแบบไว้ การออกแบบและการดีไซน์ต่างๆขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เขียนเว็บเอง
HTML ย่อมาจาก Hypertext Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ที่มีโครงสร้างการเขียนโดยอาศัยตัวกำกับ (Tag) ควบคุมการแสดงผลข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุ อื่น ๆ ผ่านโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยาย เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ
การใส่รูปภาพ (IMAGES) การใส่ภาพภายในเว็บเพจ เป็นส่วนดึงดูดของเว็บให้ดูดีมีสาระมากขึ้น เพิ่มความสวยงาม ดึงดูดความสนใจให้กับผู้ที่ผ่านที่เข้าชม เข้าศึกษา นอกจากจะช่วยให้ผู้ชมได้เห็นภาพจริงไม่ต้องจินตนาการแล้ว ยังมีส่วนช่วยให้เกิดความตื่นตาตื่นใจได้มากกว่าหน้าเว็บเพจที่มีแต่ข้อความล้วน ๆ ภาพที่ดีเพียงหนึ่งภาพสามารถแทนคำพูดได้มากกว่าพันคำ ภาพที่นำมาใช้ในการนำเสนอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การจัดรูปแบบเอกสาร การจัดรูปแบบของเอกสาร HTML โดยโปรแกรม notepad จะไม่เหมือนกับการจัดในเอกสารื่น เช่น เอกสาร Microsoft word คือ เมื่อต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ ในเอกสารMicrosoft word จะใช้ ปุ่ม Enter แต่ในเอกสาร HTML การใช้โปรแกรม notepad เมื่อใช้ปุ่ม
หลังจากที่นิสิตได้เรียนรู้เกี่ยวกับพื้นฐานและโครงสร้างของภาษา HTML แล้ว สำหรับในหน่วยการเรียนนี้ นิสิตจะได้ลงมือเริ่มต้นในการสร้างโฮมเพจของตัวเอง คือการป้อนข้อความ ตัวอักษร ในเว็บเพจ ตลอดจนการจัดรูปแบบของข้อความแบบต่าง
การกำหนดพื้นหลัง (Background) การจัดรูปแบบหรือหน้าตาของเว็บเพจเพื่อให้ดึงดูดความสนใจแก่ผู้เข้าชมนั้น เป็นเรื่องสำคัญในการทำโฮมเพจ นอกจากการตกแต่งตัวอักษร ข้อความและการใส่รูปภาพสิ่งที่จะบ่งบอกถึงหน้าตาของเว็บเพจเรา
การเชื่อมโยงข้อมูล (link) จากการที่อินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางอยู่ทั่วโลกนั่น เป็นผลมาจากความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูล (link) จากข้อมูลหนึ่งไปยังอีกข้อมูลหนึ่งได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถเชื่อมโยงข้อความได้ทั้งจากภายในแฟ้มเอกสารข้อมูลของภายใน
การสร้างตาราง การสร้างตารางในเว็บเพจ เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกันสำหรับการทำโฮมเพจ เพราะโครงสร้างของเว็บเพจต่าง ๆ ที่เห็นในเว็บ ส่วนใหญมาจากการใช้คำสั่งในการสร้างตาราง เว็บไซต์ที่ดูสวยงามทั้งไทยและต่างประเทศส่วนใหญ่จะใช้ตารางในการจัดการควบคุมการแสดงผลหน้าเว็บเพจ
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html บทที่ 4 สร้าง link สู่หน้าอื่น สร้าง link สู่หน้าอื่น ขอต้อนรับสู่วันที่ 4 วันนี้คุณจะเรียนเพียงสิ่งเดียว คือการสร้าง link หรือตัวเชื่อมที่เมื่อคลิ๊กแล้ว จะไปสู่หน้าหรือเว็บอื่นๆ ซึ่งมีรูปแบบคำสั่งคล้ายๆกับที่ผ่านมา
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html บทที่ 5 รูปภาพ รูปภาพ ถึงตอนนี้ คุณพอที่จะเขียนเว็บดีๆที่มีแต่ตัวหนังสือได้แล้ว แต่ความสามารถอีกอันหนึ่งของอินเตอร์เน็ต คือการแสดงรูปภาพ(รูปถ่าย รูปเขียน) หรือจะเรียกว่ากราฟฟิก(รูปที่สร้างขึ้น)
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html บทที่ 6 การปรับรูปภาพ การปรับรูปภาพ ผมคิดว่า เมื่อสร้างบทเรียนที่ 3 ในเรื่องการปรับรูปแบบตัวหนังสือแล้ว ก็ต้องสร้างบทที่บอกวิธีการปรับรูปภาพด้วย ซึ่งคุณเชื่อหรือไม่ว่า การปรับรูปภาพนั้น
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html คำสั่ง HEAD คำสั่ง HEAD สำหรับใครที่รู้จักคำสั่งนี้แล้ว ให้ลองถามเพื่อนๆที่ทำเว็บดูสิครับ ว่าคำสั่ง <HEAD> มีไว้ใช้ทำอะไรใน HTML ซึ่งผมมั่นใจเลยว่าคุณจะได้คำตอบที่หลายหลายไม่เหมือนกัน ผมได้รับ
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html การสร้างตาราง นี่เป็นตารางของชื่อผลไม้ชนิดต่างๆครับ ผลไม้ชนิดต่างๆ กล้วย ขนุน เงาะ มะละกอ มะเฟือง มะไฟ มะพร้าว ส้มโอ แตงโม เอ่อ… นี่ไม่ใช่ตารางที่ฉันต้องการนะ! ใช่สิครับ
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html การปรับรูปแบบตัวอักษร (FONT) แบบตัวอักษร ผมเคยได้รับคำถามหลายต่อหลายครั้งว่า จะเปลี่ยนรูปแบบอักษร(FONT) ได้อย่างไร หลายคนคงรู้แล้วว่าสามารถเปลี่ยนขนาดตัวอักษรได้ในคำสั่ง FONT หรือจะใช้คำสั่ง
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html การปรับพื้นหลัง background ปกติแล้วพื้นหลังของหน้าเว็บจะเป็นสีขาว แต่หากคุณอยากให้เป็นสีอื่นๆ คุณต้องใช้ 2 สิ่ง ได้แก่ : คำสั่งที่บอก Browser ให้เปลี่ยนสีพื้นหลัง ชื่อหรือโค้ดของสี 1 คำสั่งเปลี่ยนสีพื้นหลัง
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html ย่อหน้าและสัญลักษณ์ต่างๆ การย่อหน้า หากคุณต้องการย่อหน้าแบบที่ผมทำอยู่ในย่อหน้านี้ คุณสามารถทำได้โดยการเว้นที่ว่างให้มากๆ แต่หากคุณบอกว่า “ผมเว้นที่ว่างไปมากมาย แต่ทำไม Browser ถึงแสดงออกมา
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html การจัดวางตัวหนังสือร่วมกับรูปภาพ มีผู้คนมากมายถามถึงการนำรูปมาไว้ในหน้าเว็บ ถ้าคุณยังไม่แน่ใจนัก ให้กลับไปดูใน บทเรียนที่ 5 แต่หลังจากที่หลายคนรู้วิธีการใส่ภาพแล้ว พวกเขาก็มีคำถามอีกว่า
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html การใส่เพลงและแฟลชในเว็บ sound ในที่สุดก็เป็นหน้าแรกที่ทำเอง แต่ก็ยังลอกเนื้อหามาจากที่อื่นๆทั้งเว็บไทยและฝรั่งมาประกอบกันครับ ใครต้องการให้ ผู้ใช้เปิดเข้ามาในหน้าเว็บแล้วมีเสียงเพลงประกอบ
บทเรียนการเขียนเว็บด้วยภาษา html บทที่ 3 ปรับขนาดตัวอักษร ปรับขนาดตัวหนังสือ เอ่อ.. HTML หน้าแรกที่คุณทำเมื่อคืนนี้เป็นอย่างไรบ้างครับ ? ผมเดาว่ามันต้องไปได้สวยแน่ เพราะว่าถ้าไม่ คุณก็จะเรียนบทต่อไปไม่ได้ เอาล่ะครับ
บทที่่ 2 คำสั่ง html HTML Tags HTML ทำงานในรูปแบบง่ายๆและมีเหตุมีผลมาก มันอ่านเหมือนที่คุณอ่าน จากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง ซึ่งนั่นเป็นหลักสำคัญที่ควรจำไว้ HTML ถูกเขียนด้วยตัวหนังสือ ซึ่งหากคุณพิมพ์ข้อความลงไปตามธรรมดา เมื่อ
บทที่ 1 แนะนำ html บทเรียนนี้เป็นหนึ่งใน 6 บท ที่จะแนะนำคุณเข้าสู่พื้นฐานของ HyperText Mark-up Language ซึ่งผมแนะนำให้คุณเรียนวันละหนึ่งบท… พอครบสัปดาห์ คุณจะมีความรู้พอเพียงที่จะสร้างเว็บของคุณเองได้สบายๆ ผมพูดจริงๆครับ
iframe คือ HTML CODE ที่ใช้ในการดึงหน้าเว็บไม่ว่าจะเป็น path url จากเว็บเราหรือจากเว็บอื่น มาแสดงในเว็บของเราครับ และสามารถกำหนดได้ทั้งขนาดของกรอบที่จะแสดงว่า กว้าง / ยาวเท่าใหร่ ซึ่งบางที่ใช้ในการดึงกรอบข่าวสารจากเว็บอื่นๆมาแสดงที่เว็บของตัวเองครับ ข้อดีของ
วิดิโอสอน Webpag Maker YouTube Video YouTube Video YouTube Video YouTube Video YouTube Video YouTube Video YouTube Video
ดาวน์โหลดโปรแกรม Web Page Maker คลิกที่รูปเพื่อดาวน์โหลดโปรแกรม ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน
ความเรียบง่าย ความเรียบง่ายหมายถึงการใช้จำนวน pixel ตามที่ต้องใช้เพื่อให้สื่อสารสิ่งที่ต้องการให้ได้และในการสื่อสารนั้นก็ประกอบไปด้วย ข้อมูลหลัก hard data และ เนื้อหาที่ซ่อนอยู่ soft information ตัวอย่างของข้อมูล
ประเภทของไฟล์รูปภาพ ไฟล์รูปภาพที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีหลายประเภท แต่ไม่สามารถนำมาใช้กับเว็บเพจได้ทุกประเภท ประเภทของไฟล์รูปภาพที่นิยมมาใช้กับเว็บเพจมี 3 ประเภทคือ 1. ไฟล์ประเภท GIF (Graphics Interchange Format) เป็นไฟล์ภาพที่มีขนาดเล็ก
การออกแบบระบบนำทาง (Site Navigation Design) ระบบ Navigation เป็นระบบนำทางที่จะนำผู้ชมไปยังหน้าต่างๆ ของเว็บไซต์ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และรู้ว่ากำลังอยู่ตรงไหนของเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังใช้กำหนดบทบาทของผู้ใช้ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มๆ
ส่วนประกอบของหน้าเว็บเพจ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ 1. ส่วนหัวของเว็บเพ็จ (Page Header) เป็นส่วนที่อยู่ตอนบนสุดของหน้า และเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่ดึงดูดผู้ชมให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์ มักใส่ภาพกราฟฟิกเพื่อสร้างความประทับใจ