Munu

ข่าวสาร

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต html
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต html

อินเทอร์เน็ต(Internet) คืออะไร อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (Protocol)

โครงสร้างพื้นฐานของ HTML
โครงสร้างพื้นฐานของ HTML

  โครงสร้างของ HTML จะประกอบไปด้วยส่วนของคำสั่ง 2 ส่วน คือ ส่วนที่เป็น ส่วนหัว (Head)    และส่วนที่เป็นเนื้อหา (Body) โดยมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ การจัดโครงสร้างแฟ้มเอกสาร                  ในความง่ายของภาษา HTML นั้นเพราะภาษานี้ไม่มีโครงสร้างใด

การเติมสีสันให้เอกสาร html
การเติมสีสันให้เอกสาร html

ผลการแสดง ที่เกิดขึ้น บน เว็บเพจ เราจะพบว่าเอกสาร ทั่วไปแล้วตัวอักษร ที่ปรากฎ บนจอภาพ จะเป็น ตัวอักษรสีดำ บนพื้น สีเทา ถ้าเรา ต้องการ ที่จะ เปลี่ยนสี ของตัวอักษร หรือ สีของ จอภาพ เราสามารถ ทำ ได้โดย การกำหนด แอตทริบิวต์

คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง html
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง html

เว็บไซต์ (อังกฤษ: Website, Web site หรือ Site) หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้าแรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า

รูปแบบ ของตัวอักษร html
รูปแบบ ของตัวอักษร html

ในบทนี้ เราจะมาทราบถึงวิธีการทำแบบตัวอักษรหลาย ๆ แบบ เช่น   ตัวหนา   ตัวเอน    ตัวใหญ่  ตัวเล็ก ซึ่งลักษระต่างๆ เหล่านี้จะทำให้เว็บเพจ ของเราสวยงามยิ่งขึ้น หัวเรื่อง  รูปแบบ <Hx>ข้อความ</Hx> ตัวอย่าง <H1>หัวข้อใหญ่สุด</H1> ในการกำหนดขนาดให้หัวเรื่องนั้นมีการกำหนด

การจัดรูปแบบโฮมเพจ html
การจัดรูปแบบโฮมเพจ html

ในการเขียนคำสั่งเพื่อให้แสดงผลด้วยเว็บเบราเซอร์การกด ปุ่ม Enter ที่แป้นพิมพ์เพื่อขึ้นบรรทัดใหม่ในขณะที่สร้าง ไฟล์นั้นยังไม่มีโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ตัวใดรู้จักคำสั่งที่ขึ้นบรรทัดใหม่ที่เกิดจาก การกดแป้นพิมพ์เลยดังนั้น

การใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ html
การใส่รูปภาพลงในเว็บเพจ html

   เมื่อเริ่ม เข้าไป ยังโฮมเพจ ของ เว็บไซต์ แต่ละแห่ง บนอินเตอร์เนต สิ่งแรก ที่มัก เป็นที่ ติดตา ของผู้ ใช้ บริการ ก็คือ การที่ แต่ละ โฮมเพจ จะมี รูปภาพ สวย ๆ แสดง ออกมา มีการ จัดรูปภาพ และข้อความ ที่เป็น ระเบียบ ทำให้อ่าน

การเชื่อมโยงข้อมูล (Link) html
การเชื่อมโยงข้อมูล (Link) html

    เป็นที่ ทราบดี อยู่ แล้วว่า การที่ อินเตอร์เนต ได้รับความนิยม อย่างกว้างขวางอยู่ทั่วโลกนั้นเป็ ผลมาจากความ สามารถในการ เชื่อมโยงข้อมูล จากฐานข้อมูล หนึ่ง ไปยังอีก ฐานข้อ มูลหนึ่ง ได้อย่างรวดเร็ว โดยสามารถ เชื่อมโยงข้อความ

การสร้างตาราง html
การสร้างตาราง html

การสร้างตาราง ลงใน เว็บเพจมีประโยชน์มหาศาล เราสามารถ ประยุกต์ นำไปใช้ได้หลายอย่าง เพื่อเป็นการเพิ่มสีสันความสวยงามของเว็บเพจ การสร้างตาราง ในเว็บเพจก็ไม่แตกต่างจากการสร้างตารางบนแผ่นกระดาษทั่ว ๆ ไป เราเคยทำตารางอย่างไร

การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) html
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) html

การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design)           คือ การจัดหมวดหมู่ และลำดับของเนื้อหา แล้วจัดทำเป็นแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ ซึ่งจะทำให้เรารู้ว่ามีเนื้อหาอะไรบ้างภายในเว็บไซต์ และแต่ละหน้าเว็บเพจนั้นมีการเชื่อมโยงกันอย่างไร โครงสร้างเว็บไซต์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว

คำสั่ง IF
คำสั่ง IF

คำสั่ง IF เป็นคำที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริง(true) หรือเท็จ(false) โดยถ้าเป็นจริงจะให้ทำงานส่วนใด และถ้าเป็น เท็จจะให้ทำงานส่วนใด แบ่งออกเป็น 4 แบบ – แบบเงื่อนไขเดียว (Simple IF) – แบบมี 2 เงื่อนไข (if…else) – การใช้ Nested if (การใช้

การใช้ คำสั่ง Switch
การใช้ คำสั่ง Switch

การใช้ คำสั่ง Switch รูปแบบคำสั่ง switch (ตัวแปร) {    case ค่าที่ 1 : คำสั่งที่ 1 ; break; case ค่าที่ 2 : คำสั่งที่ 2 ; break; …….. case ค่าที่ N : คำสั่งที่ N; break; default : คำสั่งเมื่อไม่มีค่าที่ตรงกับที่ระบุใน case ; } การทำงาน – โปรแกรมจะตรวจสอบจากตัวแปรที่คำสั่ง

คำสั่ง While
คำสั่ง While

คำสั่ง While การทำงาน จะตรวจสอบว่าค่าของเงื่อนไขนั้นเป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็นจริงก็จะประมวลผลประโยคคำสั่งต่างๆ ที่อยู่ภายใน Loop หลังจากออกจาก Loop แล้วก็จะประมวลผล ประโยคคำสั่งอื่นๆที่ตามมา รูปแบบคำสั่ง while (เงื่อนไข) { คำสั่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง

คำสั่ง For
คำสั่ง For

คำสั่ง For เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข พร้อมทั้งกำหนดค่าเริ่มต้น และการ เปลี่ยนแปลงของค่าเริ่มต้นไปพร้อมๆกัน โดยที่ตราบใดที่เงื่อนไขในคำสั่ง for เป็นจริง ก็จะทำงานตามคำสั่งที่แสดงไว้ภายในคำสั่ง for ต่อไป รูปแบบคำสั่ง For

คำสั่ง do…while
คำสั่ง do…while

คำสั่ง do…while การทำงาน จะประมวลผลประโยคคำสั่งต่างๆ ก่อน เมื่อเสร็จแล้วจึงจะมาตรวจสอบเงื่อนไข ที่คำสั่ง while ถ้าเป็นจริงก็จะวนขึ้นไป ทำคำสั่งต่างๆใหม่ แต่ถ้าเป็นเท็จก็จะหลุ ออกมาทำงานที่ประโยคคำสั่งอื่นๆที่ตามมา รูปแบบคำสั่ง Do { คำสั่งต่าง

การใช้ คำสั่ง Break และ Continue
การใช้ คำสั่ง Break และ Continue

การใช้ คำสั่ง Break และ Continue การทำงาน เป็นคำสั่งที่นำมาใช้ร่วมกับกลุ่มคำสั่ง Iteration เพื่อให้หลุดออกจาก Loop หรือ ทำงานต่อไปภายใน Loop – Break ถ้าโปรแกรมพบคำสั่งนี้ จะทำให้หลุดออกจาก Loop การทำงานทันที – Continue ถ้าโปรแกรมพบคำสั่งนี้ จะทำให้หยุดการทำงานที่จุดนั้น

การตัดสินใจ
การตัดสินใจ

การตัดสินใจ และการประมวลผลแบบวน ( Decision and Loop) เนื้อหาบทเรียน 3.1 คำสั่ง if 3.2 คำสั่ง switch 3.3 คำสั่ง for 3.4 คำสั่ง while 3.5 คำสั่ง do while 3.6 การใช้ Break และ Continue จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 เข้าใจหลักการทำงานและเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง if ได้ 3.2 เข้าใจหลักการทำงานและเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง

Array และ String
Array และ String

Array และ String ( Array and Stirng ) เนื้อหาบทเรียน 4.1 การสร้าง Array 4.2 การกำหนดค่าเบื้องต้นให้กับ Array 4.3 การเรียงลำดับ(Sort) ข้อมูลใน Array 4.4 การสร้าง Array ที่มีข้อมูลเป็น Array (Array of Array) 4.5 การสร้าง String 4.6 การเปรียบเทียบ String 4.7 การแก้ไขข้อความใน String 4.8 Character Extraction 4.9 StringBuffer จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.1

การเขียน program เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming: OOP)
การเขียน program เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming: OOP)

การเขียน program เชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming: OOP) การเขียน program แบบ OOP มีลักษณะ 5 ประการ  1) ทุกสิ่งทุกอย่างคือ object ในแง่หนึ่งเราก็อาจตีความว่า object เป็นตัวแปรที่มีความพิเศษอยู่ในตัวเอง คือ นอกจากเก็บค่าต่าง ๆ ได้แล้ว เรายังสามารถที่จะสั่ง

การสร้างคลาสและออปเจ็ค
การสร้างคลาสและออปเจ็ค

การสร้างคลาสและออปเจ็ค 5.2.1 การประกาศคลาส โปรแกรมภาษาจาวาแต่ละโปรแกรมจะประกอบไปด้วยคลาสอย่างน้อย หนึ่งคลาส โดยมีรูปแบบการประกาศ ดังนี้ [modifier] class Classname { [class member] } – Modifier คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวาที่ใช้ในการอธิบายระดับการเข้าถึง

การประมวลผล Java
การประมวลผล Java

ในภาษาจาวา ประโยค (statement) จะจบด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) เสมอ ดังนั้นโปรแกรมสามารถเขียน statement ได้มากกว่าหนึ่งสเตจเม็นต์ในหนึ่งบรรทัดของ source code หรือสามารถเขียน statement โดยมีความยาวมากกว่าหนึ่งบรรทัดก็สามารถทำได้ Expression หมายถึง ประโยคในภาษา

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรผ่านทางสื่อการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน
การกำหนดค่าให้กับตัวแปรผ่านทางสื่อการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน

การกำหนดค่าให้กับตัวแปรผ่านทางสื่อการนำเข้าข้อมูลมาตรฐาน 2.6.1 การใช้ System.in.read รับข้อมูลได้เพียง 1 ตัวอักษร การรับข้อมูล ต้องใช้คำสั่ง “throws IOException” และ เรียกใช้ Package “java.io” รูปแบบคำสั่ง ตัวแปรแบบchar = (char)System.in.read(); 2.6.2 การใช้ BufferedReader ร่วมกับ

การเปลี่ยนแปลงชนิดของข้อมูล (casting)
การเปลี่ยนแปลงชนิดของข้อมูล (casting)

ใช้แปลงชนิดข้อมูล จากชนิดหนึ่งเป็นอีกชนิดได้ โดยไม่สนใจขนาด แต่ถ้า cast ข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ไปสู่ข้อมูลที่มี ขนาดเล็ก จะทำให้สูญเสียค่าความเป็นจริงของข้อมูลนั้นได้ ดังนั้นการประกาศค่าตัวแปรและcast ต้องทำด้วยความ ระมัดระวัง รูปแบบ (target_type)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาจาวา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาจาวา

1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษาจาวา 1.1.1 ประวัติความเป็นมา เป็นภาษาที่ถูกพัฒนาโดย Dr.Jame Gosling บริษัท Sun Microsystems เดิมทีชื่อ ภาษาโอ๊ค (Oak) เป็นชื่อต้นไม้ ใหญ่ที่อยู่ในบริเวณบ้าน ที่ทีมวิศวกรของซัน ทำงานอยู่ นำมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดจิ๋วสำหรับ

สถาปัตยกรรมของภาษาจาวา
สถาปัตยกรรมของภาษาจาวา

สถาปัตยกรรมของภาษาจาวา 1.2.1 สถาปัตยกรรมของจาวา ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน 1) Java programming Language  คือ โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา java (.java) ในรูปของ text ที่สามารถอ่านได้ เรียกว่า ซอร์สโค้ด (Source code) 2) Java class file  คือ ซอร์สโค้ด ที่ถูกแปลง (compile) เป็น .class หรือ

เครื่องมือ และขั้นตอน ในการพัฒนาโปรแกรม
เครื่องมือ และขั้นตอน ในการพัฒนาโปรแกรม

เครื่องมือ และขั้นตอน ในการพัฒนาโปรแกรม 1.3.1 เครื่องมือพัฒนาโปรแกรม Java Development Kit ได้ถูกเปลี่ยนให้มีชื่อเป็น J2SDK – Java 2 Software Development Kit เป็นชุดโปรแกรมที่ใช้สำหรับสร้างและพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวา ภายในชุดประกอบด้วยโปรแกรมต่าง ๆ ดังนี้ 1) javac เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ

โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา
โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา

โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา public class ชื่อคลาส { public static void main(String[] agrs) { ประโยคคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม; …………………………………………..; } } ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา ไฟล์ Example.java class Example { public static void main(String[] args) { String dataname = “Java Language“; System.out.println(“My name is OAK“); System.out.println(“OAK

ตัวแปร Java
ตัวแปร Java

ตัวแปร – ตัวแปร หรือ Variable เป็นที่เก็บข้อมูลต่างๆ ที่เราต้องการใช้ในการประมวลผล – ตัวแปรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในการแทนหน่วยความจำ (Memory) ที่อยู่ในเครื่อง และ Compiler จะเป็นผู้กำหนดว่าอยู่ที่ใด มีขนาดเท่าใด 2.1.1 กฏเกณฑ์ในการตั้งชื่อตัวแปร 1)

ชนิดของข้อมูล (Data Type)
ชนิดของข้อมูล (Data Type)

ชนิดของข้อมูล (Data Type) ชนิดข้อมูลในภาษาจาวาแบ่งเป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ 2.2.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (primitive data type) หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐาน มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่ boolean, char, byte, short, int, long, float,double 2.2.2

การประกาศค่าตัวแปร
การประกาศค่าตัวแปร

การประกาศค่าตัวแปร 2.3.1 รูปแบบการประกาศ datatype ชื่อตัวแปร; ตัวอย่าง int Num1, Num2; float value1, value2 2.3.2 การกำหนดค่าให้ตัวแปร(Assignment) ใช้เครื่องหมาย = เรียกว่า Assignment operator นำค่าทางขวามือของเครื่องหมาย = มาเก็บทางซ้ายมือของเครื่องหมาย = ตัวอย่าง number = 2; area

กำหนด Layout ตามขนาดหน้าจอ
กำหนด Layout ตามขนาดหน้าจอ

ในบางครั้งที่ Layout ปกติที่ดีไซน์ออกมาเปิดสำหรับหน้าจอขนาดใหญ่จะมีรายละเอียดเยอะ มีจำนวนคอลัมน์หลายคอลัมน์ ทีนี้เวลาเราเปิดกับหน้าจอขนาดเล็กเราจึงต้องจัด Layout ซะใหม่ โดยอาจจะเรียงให้เป็นหนึ่งแถว หรือตัดส่วนข้อมูลที่ไม่จำเป็นทิ้งไป ตัวอย่าง แสดงผลหน้าจอขนาดปกติ

jQuery Mobile เขียนเว็บให้แสดงผลสวย ๆ บน Mobile เช่น iPhone , iPad , Android
jQuery Mobile เขียนเว็บให้แสดงผลสวย ๆ บน Mobile เช่น iPhone , iPad , Android

jQuery Mobile เขียนเว็บให้แสดงผลสวย ๆ บน Mobile เช่น iPhone , iPad , Android สำหรับ jQuery mobile เป็นFramework ที่ทำงานทางด้าน UI หรือ User interface บน HTML , JavaScript และ CSS ที่เข้ามาจัดการให้สามารถแสดงผลบน Web Browser ที่อยู่ใน Mobile มือถือ Smart Phone / Tablets ต่าง ๆ เช่น iPhone , Android , Blackberry หรือiPad และอุปกรณ์อื่น

HTML5 +CSS+JQueryMobile +Javascript อีก 1 ทางสำหรับการพัฒนา APP Mobile ด้วย ภาษา Web
HTML5 +CSS+JQueryMobile +Javascript อีก 1 ทางสำหรับการพัฒนา APP Mobile ด้วย ภาษา Web

ตอนนี้ Application บน Mobile น่าจะทำให้เกิดสีสรรในการทำงานของเราได้ส่วนหนึ่ง Mobile ที่ใช้ OS ที่มีการติดต่ั้ง โปรแกรมเข้าไปได้ หรือ APP ก็อยากจะพัฒนาอะไรที่เกี่ยวกับชีวิตการทำงานดูบ้าง ผมได้ทดลองหาวิธีทำ APP บน Andriod แต่ภาษาในเครื่องมือที่

แนวทางการพัฒนาเว็บแบบ Responsive Web Design
แนวทางการพัฒนาเว็บแบบ Responsive Web Design

เนื่องด้วยปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการให้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จึงส่งผลให้การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง ทำให้เหล่าผู้ผลิตรวมถึงนักพัฒนา

CSS3 basic box model ตอนที่ 1
CSS3 basic box model ตอนที่ 1

รูปแบบของอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นแบบ “กล่อง” คงเป็นการง่ายสำหรับการอธิบายคำว่า Box Model จากการที่ 2 ภาษา เกิดมาแยกกัน HTML มีค่าพื้นฐานมาก่อน แต่ CSS สามารถเข้าไปแก้ไขปรับแต่ง HTML ได้ในภายหลัง Element ของ HTML ที่มีค่าพื้นฐานนี้ก็เหมือนกันเกือบ

How to use CSS check mobile devices and tablets
How to use CSS check mobile devices and tablets

How to use CSS check mobile devices and tablets

เรามีทีมงานผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ด้านเว็บไซต์

มาประยุกต์ในการพัฒนาการให้บริการอยู่ตลอดเวลา เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าทุกท่าน
ด้วยประสบการณ์ที่เรามีอยู่นั้น ทำให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าทุกท่านจะได้รับการบริการที่ดีจากเรา

Call

082-493-2295

E-mail

Konyubyub@Gmail.com

Location

บริษัท ดีไซน์นำโชค จำกัด
58/146 หมู่ที่ 6 หมู่บ้านซื่อตรง คลอง13 ตำบลบึงน้ำรักษ์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110

2014 Powered by IYATHAI.com
Tel: 082-493-2295 E-mail: Konyubyub@gmail.com